เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2557 Topic: " ข้าว"
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
นักเรียนเข้าใจและตระหนักถึงความสัมพันธ์ของข้าวที่ส่งผลต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นรวมทั้งนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำรงชีวิตของตนเอง ดูแลสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตอื่นได้

วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)

Mind Mapping                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                   
Big  Questions : - ข้าวมีความสำคัญกับคนและสิ่งมีชีวิตอย่างไร?

                 -นักเรียนจะเลือกกินข้าวอย่างไร

ภูมิหลังปัญหา

                ปัจจุบันข้าว  คือ   อาหารหลักของคนไทยขณะเดียวกันก็เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนไทย  รวมถึงประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต เช่น  ประเพณีแรกนาขวัญ  บุญข้าวจี่  บุญคูณลาน  ฯลฯ ในขณะเดียวกัน  ข้าวยังสามารถเป็นยาและเป็นภูมิคุ้มกันให้กับเราได้อีกด้วย เช่นข้าวหอมนิล ข้าวสินเหล็ก อีกทั้งข้าวพันธ์ุพื้นเมืองกำลังจะสูญหายเพราะเกษตรกรและชาวนาหันไปปลูกข้าวเพื่อ การค้า  เศรษฐกิจมากขึ้น มีปัจจัยหลากหลายปัจจัยที่ทำให้การ
บริโภคข้าวไม่ปลอดภัยเพราะมีสารเจือปน สารกันรา  สารเคมีในนาข้าว ฯลฯ  ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนของเรา(โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา)ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องนี้  เพื่อเป็นการให้นักเรียนได้เรียนรู้ เข้าใจและซึมซับต่อวิถีและการทำนาปลอดสารตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้กับวิถีการดำรงชีวิตของตนเองต่อไป    


ปฎิทินการเรียนรู้ แบบบูรณาการ  (Problem  Based Learning  ) PBL
                  หน่วยการเรียนรู้เรื่อง  “ข้าวระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 Quarter ที่ 2 / 2557                                                                                              
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
1-2



    โจทย์ สร้างฉันทะแรงบันดาลใจ
-   -เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
คำถาม
-นักเรียนเห็นอะไรจากการเดินสำรวจภายในบริเวณโรงเรียนของเรา
-นักเรียนเห็นอะไรบ้างจากคลิปวีดีโอบ้าง และรู้สึกอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอ
เรียนรู้ ผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart เลือกหัวข้อ
- ตั้งชื่อโครงงานผ่านเครื่องมือคิด Think Pair Share
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Show and Share
-สิ่งที่ได้เรียนรู้และกิจกรรมที่ทำตลอดสัปดาห์
กิจกรรม
จันทร์ -พฤหัสบดี
- ครูและนักเรียนสำรวจนาข้าวในโรงเรียน
-ครูกระตุ้นด้วยคำถามนักเรียนเห็นอะไรจากการเดินสำรวจภายในบริเวณโรงเรียนของเรา
-นักเรียนและครูแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
-นักเรียนเห็นอะไรจากการเดินสำรวจภายในบริเวณโรงเรียนของเราบ้าง 
-  ครูให้นักเรียนนำเมล็ดพันธุ์ข้าวมาจากบ้าน
- ครูพาเพาะปลูกข้าว                                                      - นักเรียนเห็นอะไรจะคลิปวีดีโอบ้าง และรู้สึกอย่างไร           
พ่อแม่ของเราพบปัญหาอะไรบ้างจากการทำนาในปัจจุบัน
- เราจะปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตมากได้อย่างไร

ศุกร์
-ครูกระตุ้นด้วยคำถามนักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการสำรวจทุ่งนาในโรงเรียนของเรา
-นักเรียนระดมความคิดตั้งคำถามคนละ 1 คำถามเกี่ยวทุ่งนา
ครูให้นักเรียนเขียนคำถามที่ตนเองสงสัยลงบนกระดาษ  คนละ 1 คำถาม
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
-ภาพวาดจากการสำรวจบริเวณโรงเรียนและเขียนคำศัพท์จากสิ่งที่ได้ดู
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
-วาดภาพทุ่งนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่

ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นและระดมความคิดเกี่ยวกับการเลือกหัวข้อโครงงาน
-ออกแบบวาดภาพประกอบชื่อโครงงาน
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
ระดมสมองทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ความรู้
-เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
1. ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ
คุณลักษณะ
- เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
- มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นทำงานร่วมกิจกรรมกับ







Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
3


โจทย์ วางแผนการเรียนรู้รายสัปดาห์
คำถาม
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้และนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ Quarter นี้อย่างไร
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานปฏิทินการเรียนรู้
- Wall Thinking ติดชิ้นงานสิ่งที่รู้แล้ว  สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Time line  ปฏิทินการเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
กิจกรรม
จันทร์
-เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
-ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้

อังคาร
-เขียนสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
-ทำปฏิทินการเรียนรู้

พฤหัสบดี
-สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน

ศุกร์
-แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
-ชื่อหน่วยการเรียนรู้
-สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
-ปฏิทินการเรียนรู้
-Mind Mapping ก่อนเรียน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-ทบทวนสิ่งที่อยากเรียนรู้
-วางแผนเลือกชื่อหน่วยการเรียนรู้
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์วางแผนการทำกิจกรรมในสัปดาห์ต่อไป




ความรู้
-เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
- ทักษะชีวิต
-สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ
คุณลักษณะ
-เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
- มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง
-ปรับตัวระหว่างการทำงานร่วมกับผู้อื่นรับฟังความคิดเห็นและมีความสุขในการทำงานกับผู้อื่น


Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome

4


โจทย์
-การเจริญเติบโตและโครงสร้างของต้นข้าว
คำถาม
- ต้นข้าวมีลักษณะอย่างไร
- ต้นข้าวเจริญเติบโตได้อย่างไร
- ต้นข้าวกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น (คน  พืช สัตว์) เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับชุนชน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
นักเรียน ความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคล ความสนใจ
ครู กระตุ้นการเรียนรู้/ อำนวยการเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
-บรรยากาศในชั้นเรียน
-ฟาร์มโรงเรียน(สังเกต สำรวจ)

กิจกรรม
จันทร์-พฤหัสบดี
-นักเรียนสังเกตสำรวจการเจริญเติบโตของข้าว
-นักเรียนวัดความสูงความยาวของต้นข้าวจดใส่สมุดบันทึก
-ทดลองเรื่องแสงเรื่องน้ำ เช่น ทดลองปลูกในแสงน้อย แสงมากปลูกโดยไม่รดน้ำ ทดลองเรื่องดินถ้าไม่ใส่ปุ๋ยจะเป็นอย่างไร
-นักเรียนทำชักเย่อ  เขียนสรุปความเข้าใจปัจจัยการเจริญเติบโตของข้าวและโครงสร้างของข้าว
-นักเรียนสรุปการงอกของเมล็ดข้าวพร้อมกับวาดภาพลงในสมุดบันทึกการเจริญเติบโตของข้าว
ศุกร์
-แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ชิ้นงาน
 -ชาร์ตโครงสร้างของเมล็ดข้าว
-การนำเสนอชิ้นงาน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-ทดลองเรื่อง แสง  น้ำ ดิน
-กิจกรรมที่ทำร่วมกันในสัปดาห์

ความรู้
-เข้าใจปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว
 1.ทักษะชีวิต
-สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ

คุณลักษณะ
- เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
-กล้าคิดกล้าทำ และมีความสร้างสรรค์ในการทำชิ้นงาน
-มีความพยายามในการทำงานสามารถทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางแผนไว

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome

5

โจทย์
-การเจริญเติบโตและโครงสร้างของต้นข้าวกับพืช
-ช่วงวัยต่าง (แรกเกิด   เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ ชรา)
-เปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ (แยกแยะ) สิ่งมีชีวิต คน  พืช  สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่นมี
คำถาม
- ถ้าคนกินอาหารเหมือนต้นข้าวจะเป็นอย่างไร
-  คน พืช  สัตว์  มีอวัยวะหรือร่างกายทีทำหน้าที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

เครื่องมือคิด
- Round Rubin ระดมสมองร่วมกัน
- Mind Mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- ทุ่งนาของโรงเรียน
- ฟาร์มกบ  ปลา หมู และไก่
-ผู้รู้ (พนักงาน  คุณลุงคุณป้า)

กิจกรรม
จันทร์-พฤหัสบดี
-นักเรียนสำรวจสอบถามเก็บข้อมูล คุณลุง  คุณป้าในโรงเรียนว่ามีการเจริญเติบโตเต็มวัยอย่างไร?และเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในโรงเรียน เช่น  กบ ปลา หมู ใช้เวลาเท่าไรในการเจริญเติบโต
-นำมาเทียบเคียงกับตัวเราจะใช้ระยะเวลานานเท่าไรจึงจะโต
-ดูคลิปวีดีโอ (สารคดี)
ศุกร์
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน
 -จัดหมวดหมู่ วาดภาพการเจริญเติบโตของพืช  คน
สัตว์
- การนำเสนอชิ้นงาน
- สรุปองค์ความรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-กิจกรรมที่ทำร่วมกันในสัปดาห์




ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของข้าวรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
1.             ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome

6

 โจทย์  
-พันธุ์ข้าว(แบ่งพันธุ์ข้าว)
-การแยกเมล็ด
-การแยกต้นข้าว
คำถาม
- นักเรียนจะทำข้าวแต่ละประเภทมาใช้ทำอะไรได้บ้าง?
–  เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกัน
- Blackboard Share แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
  -เมล็ดพันธุ์ข้าว


กิจกรรม
จันทร์  พฤหัสบดี
-นักเรียนนำเมล็ดพันธุ์ข้าวมาจากบ้าน
-นักเรียนจัดหมวดหมูของสายพันธ์ข้าวแต่ละประเภท

ศุกร์
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้

ชิ้นงาน
 -นิทาน/การ์ตูนช่องประเภทของข้าว
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์ที่ 6
ภาระงาน
-ร่วมแสดงความคิดเห็น
ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันในสัปดาห์

ความรู้
-นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับพันธุ์ข้าว
-เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
1.ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome

7

 โจทย์  
-อาหารและผลิตภัณฑ์จากข้าว
คำถาม
 -นักเรียนจะแปรรูปจากข้าวให้มีคุณค่าได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกัน
- Blackboard Share แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- ข้าว


กิจกรรม
จันทร์  พฤหัสบดี
-เรียนรู้ขั้นตอนและกระบวนการทำอาหารจากข้าว
-เรียนรู้จากใบข้าว เช่น  ชาใบข้าว
-อาหารจาข้าว ข้าวผัดปลาทู
ข้าวยำ ฯลฯ
-ขนมจากข้าว เหนียวแดงข้าวเหนียวปิ้ง ขนมครก ฯลฯ
-ครูพูดทักทายนักเรียนและร่วมกันทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้น “ข้าวมีคุณค่าต่อคนอย่างไรบ้าง”
- นักเรียนสรุปคุณค่าของข้าวเป็น Mind mapping

พฤหัสบดี
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด  นักเรียนจะสร้างสินค้าอะไรบ้างที่ทำมาจากข้าว
-นักเรียนออกแบบสินค้า ของตนเองลงในสมุด ระบายสีตกแต่งให้สวยงาม
ศุกร์
-แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ชิ้นงาน
 -เรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการทำอาหารจากข้าว
-ปะติดรูปภาพจากเมล็ดข้าวเปลือก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน
ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันในสัปดาห์

ความรู้
-นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าของข้าว
-เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
1.ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ

คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome

8

 โจทย์  
- เปิดตลาดอาหารที่ทำจากข้าว
คำถาม
- นักเรียนจะประกอบอาหารที่ทำจากข้าวอย่างไรเพื่อได้คุณค่าทางอาหารสูงสุด

เครื่องมือคิด
- Round Rubin ระดมสมองร่วมกัน
- Blackboard Share แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
-สิ้นค้า
กิจกรรม
จันทร์ อังคาร
-นักเรียนวางแผนการเปิดตลาดขายอาหารที่ทำจากข้าว
-ประกอบอาหารที่ทำจากข้าว

พฤหัสบดี
-ประกอบอาหารที่ทำจากข้าว  
ศุกร์
-ประกอบอาหารจากข้าว
-เปิดตลาดขายอาหารจากข้าว
 ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันในสัปดาห์
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
  -วาดภาพการ์ตูนช่องอาหารที่ทำจากข้าว
- สรุปองค์ความรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-ประกอบอาหารจากข้าว
-วางแผนเปิดตลาด
-เปิดตลาดขายอาหาร
-วางแผนประชาสัมพันธ์
ความรู้
-นักเรียนเข้าใจและสามารถออกแบบการนำเสนอสิ้นค้าจากวัตถุที่ทำจากข้าวได้
 ทักษะ
1.ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ

คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
9


 โจทย์  
-การเปลี่ยนแปลงของคน  พืช สัตว์ ในอนาคต
คำถาม
- ในอนาคตถ้าไม่มีข้าวมนุษย์จะอยู่อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกัน
- Blackboard Share แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน

สื่อ/บรรยากาศ
- บรรยากาศภายในห้องเรียน

กิจกรรม
จันทร์
- ครูและนักเรียน สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของคน พืช สัตว์ ในอนาคต
อังคาร
-ครูให้นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คน
-ครูให้นักเรียนทำการ์ตูนช่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของคน  พืช  สัตว์ ในอนาคต
พฤหัสบดี
-ครูให้นักเรียนไปสำรวจคนพืช สัตว์
พร้อมวาดภาพและจดบันทึกจากการไปสังเกตลงบนสมุด

ศุกร์
-แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้รายสัปดาห์
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- การ์ตูนช่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของคน พืช สัตว์ ในอนาคต
- การนำเสนอชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน
ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันในสัปดาห์
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ความรู้
-นักเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของคน พืช สัตว์ในอนาคตได้ดีและสามารถ
อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
1.ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่


Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
10


 โจทย์
-สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-เขียนสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ควรปรับปรุงพัฒนา
คำถาม
นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Q มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
สื่อ/บรรยากาศ
- ชิ้นงาน
- ครู/นักเรียน/ผู้ปกครอง

กิจกรรม
 - นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้หลังการเรียนรู้เป็น
Mind Mapping หลังการเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และ สิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับการเรียนรู้โครงงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ประมวลสรุปและนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้หลังการเรียนรู้
ชิ้นงาน
 -นิทรรศการสรุปองค์ความรู้
 - ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping หลังเรียน
- สิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็น
- ถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่น

ความรู้
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- รู้สิ่งที่ตนทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงพัฒนา
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ทักษะ
1.ทักษะชีวิต
- สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้ถูกต้องและเหมาะสม
-สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตน
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย รู้คุณค่าของสิ่งที่ทำ
คุณลักษณะ
1. เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
2. มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่
  
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้บูรณาการ   (Problem  Based  Learning) PBL
หน่วย  “ข้าวมหัศจรรย์   Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557  ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
-ข้าวมีประโยชน์
-ทำให้คนเราเจริญเติบโตแข็งแรง
-ข้าวสำคัญต่อคน,พืช, สัตว์
-คนกินสัตว์และพืชได้
-สัตว์เป็นอาหารของคน
-ข้าวเป็นอาหารของคนและสัตว์
-แป้งทำมาจากข้าว
-ไก่เป็นอาหารของคน
-สัตว์กินเนื้อ เช่นเสือ งุ
-หมูเป็นอาหารของคน
-ปลาเป็นอาหารของคนและสัตว์
-คนกินไก่และไข่เป็นอาหาร
-ช้างกินอ้อยเป็นอาหาร
-ข้าวที่เรากินมีข้าวเจ้ากับข้าวเหนียว
-ข้าวทำเป็นอาหร/ขนมได้



-ทำไมต้องมีชาวนา
-ทำไมต้องกินข้าว
-ทำไมต้องปลูกข้าว
-ทำไมต้องถอนกล้าก่อนมาปักดำ
-ทำไมต้องมีน้ำในนาข้าว
-ทำไมต้องเกี่ยวข้าว
-ข้าวเกิดได้อย่างไร
-ทำไมในนาข้าวจึงมีหุ่นไล่กา
-ทำไมในนาข้าวจึงมีสัตว์
-ข้าวนำมาทำอะไรได้บ้าง
-คนกับพืชแตกต่างกันอย่างไร
-สัตว์กับพืชแตกต่างกันอย่างไร
-ทำไมเราจึงมีข้าว
-คนกับสัตว์แตกต่างกันอย่างไร
-คนกับสัตว์มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
-ทำไมต้องปลูกข้าวในดิน
-ถ้าไม่กินข้าวคนเราจะกินอะไร
-ทำไมนกกระยางจึงมากินปลาในนาข้าว
-ต้นข้าวมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
-อาหารของต้นข้าวคืออะไร
-ทำไมลูกอ๊อดถึงอยู่ในนาข้าว
-ฝนแล้งชาวนาจะทำอย่างไร
-ถ้าน้ำท่วมชาวนาจะทำอย่างไร
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหัวเรื่องบูรณาการโดยโครงงานกับมาตราฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้ ข้าวมหัศจรรย์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ภาคเรียนที่ 1/2557  (Quarter:2)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์

การสร้างแรงบันดาลใจ
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนได้ดู ได้ฟังเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในท้องนา(8.1.1/5)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลจากการดูคลิป  ฟังนิทาน  เรื่องเล่าเกี่ยวกับทุ่งนาโดยการเขียนภาพหรือเขียนข้อความสั้นๆได้(8.1.1/6)
มาตรฐาน ส 2.2
- มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆในชั้นเรียน(2.2.1/3)
มาตรฐาน ง1.1
- สามารถทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงเวลาได้(1.1.1/3)
มาตรฐาน พ2.1
- สามารถบอกสิ่งที่ตนเองชอบจากการเดินสำรวจภายในบริเวณโรงเรียน(2.1.1/2)
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถวาดภาพระบายสีเกี่ยวกับสิ่งที่เห็นตามความรู้สึกของตนเองได้ (1.1.1/5)
มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถบอกความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในอดีตกับปัจจุบัน ได้(4.1.1/3)

กระบวนการเลือกหัว ข้อโครงงาน
วางแผนการเรียนรู้







มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถาม สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในนาข้าวได้(8.1.1/1)
- สามารถวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความคิดของตนเองและของผู้อื่นได้(8.1.1/2)
- สามารถอธิบายความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกหัวข้อโครงงานนำเสนอและให้เหตุผลเกี่ยวกับหัวข้อที่ตนสนใจให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.1.1/7)


















มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถเขียน Mind mapping ก่อนเรียนและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
 (2.2.1/3)



มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถบอกหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจและบอกแหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัวได้(3.1.1/1)




มาตรฐาน พ3.2
- สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงในการทำงานเป็นกลุ่มได้(3.2.1/2)





มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถตกแต่งMind mappingก่อนเรียนโดยใช้สีไม้ด้วยเทคนิคง่ายๆได้(1.1.1/4





มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถบอกข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่
ตนเองอยากเรียนรู้ได้ (4.1.1/3)












สาระการเรียนรู้




มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์

-การเจริญเติบโตและโครงสร้างของต้นข้าว
-การเจริญเติบโตและโครงสร้างของต้นข้าวกับพืช
-ช่วงวัย(แรกเกิด  เด็ก  วัยรุ่น ผู้ใหญ่  ชรา)
-เปรียบเทียบ  จัดหมวดหมู่ (แยกแยะ) สิ่งมีชีวิต คน พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ












มาตรฐาน ว 1.1
- สามารถสังเกตอธิบายลักษณะหน้าที่ของอวัยวะภายนอกของมนุษย์  ตลอดจนสามารถดูแลรักษาอวัยวะภายนอกร่างกายได้(1.1 .1/3)
- สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของอวัยวะภายนอกและการเจริญเติบโตของร่างกายได้(1.1 .2/5)
- สามารถทดลองและอธิบายการตอบสนองของร่างกายต่อแสง  อุณภูมิและการสัมผัสได้ (1.1 .2/4)
- สามารถอธิบายปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้(1.1 . 2/5)
- สามารถวิเคราะห์และอธิบายการเจริญเติบโตช่วงวัยต่างๆของมนุษย์ได้(1.1 .6/1)
- สามารถวิเคราะห์และอธิบายสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายของมนุษย์ได้(1.1 .6/3)
 - สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของอวัยวะต่างๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้(1.1 .2/2)
มาตรฐาน ว1.2
- สามารถวิเตราะห์และจำแนกเพศของบุคคลในท้องถิ่นได้(1.2 .1/1)
- สามารถเปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูกได้(1.2 .3/2)
มาตรฐาน ว 2.1
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต คน พืชและสัตว์ ในรูปของโซ่อาหารได้(2.1 6/2)
- สามารถสืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมได้(2.1 .6/3)
มาตรฐาน ว6.1
- สามารถสืบค้น วิเคราะห์และอธิบายการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณภูมิของโลกได้(6.1.1/6)
มาตรฐาน ว8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาได้(8.11/1)
- สามารถวางแผน  การสังเกต  สำรวจ ตรวจสอบศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเองได้(8.11/2)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจและตรวจสอบข้อมูลได้(8.11/3)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกต  สำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพ หรือข้อความสั้นๆได้(8.11/6)
- สามารถนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.11/7)








มาตรฐาน ส 2.1
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน (2.12/4)

มาตรฐาน ส 2.2
- รู้และสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.21/2)
- มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น  การตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(2.21/3)










มาตรฐาน ง .1.1
- สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือง่ายๆในการทำงานได้ (.1.11/2)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้(.1.11/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานได้(.1.14/3)













มาตรฐาน พ 1.1
- สามารถอธิบายลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายนอกได้     (1.1 1/1)
- สามารถอธิบายวิธีดูแลอวัยวะภายนอกได้(1.1 1/2)
- สามารถอธิบายลักษณะกายเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์ได้ (1.1 3/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตได้(1.1 3/3)
มาตรฐาน พ2.1
- สามารถบอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในตนเอง(2.1 1/2)
- สามารถบอกลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิงได้(2.1 1/3)
มาตรฐาน พ4.1
สามารถปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติได้(4.1 1/1)
- สามารถเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้(4.1 2/2)
มาตรฐาน พ5.1
- สามารถบอกชื่อยาสามัญประจำบ้าน  และใช้ยาตามคำแนะนำได้(5.1 2/2)
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะและขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น (1.1 1/1  )
- บอกความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว (1.1 1/2  )
- สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่าย ๆ (1.1 1/ 4 )                               - วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง (1.1 1/ 5)
มาตรฐาน ศ 3.1
- เลียนแบบการเคลื่อนไหว (3.1 1/1)
- แสดงท่าทางง่าย ๆ เพื่อสื่อความหมาย แทนคำพูด (3.1 1/2  )
- บอกสิ่งที่ตนเองชอบ จากการดูหรือ
ร่วมการแสดง (3.1 1/3  )








มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถบอวัน เดือน ปี และช่วงเวลาในการดำรงชีวิตประจำวันของตนเองได้(4.1.1/2)
- สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้(4.1.1/2)
- บอกประวัติความเป็นมาของครอบครัวตนเองได้ (4.1.1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถแยกแยะสิ่งต่างๆรอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น (5.1 1/1)
- สามารถระบุความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/2)
- สามารถระบุที่ตั้งหรือตำเหน่งของสิ่งต่างๆรอบตัวได้(5.1.1/3)
- สามารถสร้างแผนผังง่ายๆในแสดงตำเหน่งของสิ่งต่างๆได้(5.1.1/4)
- สามารถสังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/5)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์

- การจัดประเภท
- ปัจจัยในการดำรงชีวิต
- โครงสร้าง
- ประโยชน์  โทษ  การขยายพันธุ์  การดูแล
- การเจริญเติบโต














มาตรฐาน ว1.1
- สามารถสังเกตอธิบายลักษณะหน้าที่ของโครงสร้างภายนอกของพืชได้ (1.1 .1/2)
- สามารถทดลองและอธิบายน้ำ  แสงเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช(1.1 .2/1)
- สามารถอธิบายอาหาร  น้ำ  อากาศเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช  พร้อมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้(1.1 .2/2)
- สามารถสังเกตและระบุส่วนประกอบของดอกได้(1.1 .5/1)
- สามารถอธิบายการขยายพันธุ์พืช  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้(1.1 .5/2)
- สามารถอธิบายกระบวนการสืบพันธ์ แบบอาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้(1.1 .1/11)
มาตรฐาน ว 1.2
- สามารถระบุลักษณะและจำแนกพืชในท้องถิ่นได้(1.2 .1/1)
- สามารถอธิบายประโยชน์ของพืชได้(1.2 .2/1)
- สามารถระบุลักษณะของพืชดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์(1.2 .5/4)
มาตรฐาน ว 2.1
- สามารถสำรวจสิ่งแวดล้อมและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมได้(2.1 3/1)
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต คน พืชและสัตว์ ในรูปของโซ่อาหารได้(2.1 6/2)
มาตรฐาน ว2.2
- สามารถสำรวจทรัพยากรธรรมชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้
(2.23/1)
- สามารถอภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและคุ้มค่า  และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติได้
(2.23/3)
มาตรฐาน ว6.1
- สามารถสำรวจและจำแนกประเภทของดิน  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้   (6.12/1)
- สามารถสืบค้น  วิเคราะห์และอธิบายผลภาวะโลกร้อนที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม(6.11/2)
มาตรฐาน ว8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาได้(8.11/1)
- สามารถวางแผน  การสังเกต  สำรวจ ตรวจสอบศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเองได้(8.11/2)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจและตรวจสอบข้อมูลได้(8.11/3)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจ  ตรวจสอบข้อมูลได้ (8.11/4)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกต  สำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพ หรือข้อความสั้นๆได้(8.11/6)
- สามารถนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.11/7)















มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลง  กติกา  กฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้(2.12/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน
 (2.12/4)
- มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นจองชุมชน
(2.15/4)
มาตรฐาน ส 2.2
- รู้และสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.21/2)
- มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น  การตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(2.21/3)
มาตรฐาน ส3.1
- สามารถระบุสินค้าและบริการที่มาจากพืชได้(3.11/1)
- สามารถยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดได้ (3.11/3)
- สามารถบอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนได้
(3.16/3)
มาตรฐาน ส5.1
- สามารถสังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวันได้(5.11/5)
มาตรฐาน ส5.2
- สามารถบอกสิ่งต่างๆที่เกิดขิ้นตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ได้(5.21/1)
- สามารถมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนได้  (5.24/5)

มาตรฐาน ง .1.1
- สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือง่ายๆในการทำงานได้ (.1.11/2)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้         (.1.11/2)
- สามารถใช้วัสดุ  อุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงานได้          (.1.13/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานได้(.1.14/3)











มาตรฐาน พ.1.1
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตได้(.1.13/3)
มาตรฐาน พ2.1
- สามารถบอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
(2.1 1/2)
มาตรฐาน พ3.1
- สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่ใช้การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติได้
(3.1 1/2)
มาตรฐาน พ4.1
- สามารถบอกอาการที่เกิดขึ้นเมื่อกินพืชที่มีพิษเข้าไปได้(4.1 1/2)
- สามารถระบุโทษของสารเสพติดจากพืชได้
(4.1 2/3)
มาตรฐาน พ 5.1
- สามารถบอกชื่อยาที่ได้จากพืชได้(5.1 2/2)
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะและขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น (1.1 1/1  )
- บอกความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว (1.1 1/2  )
- สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่าย ๆ (1.1 1/ 4 )
- วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง (1.1 1/ 5)
มาตรฐาน ศ 3.1
- เลียนแบบการเคลื่อนไหว (3.1 1/1 )
- แสดงท่าทางง่าย ๆ เพื่อสื่อความหมาย แทนคำพูด (3.1 1/2  )
- บอกสิ่งที่ตนเองชอบ จากการดูหรือ
ร่วมการแสดง (3.1 1/3 )

มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถบอกความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในอดีตกับปัจจุบัน ได้(4.1.1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถแยกแยะสิ่งต่างๆรอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น (5.1 1/1)
- สามารถระบุความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/2)
- สามารถระบุที่ตั้งหรือตำเหน่งของสิ่งต่างๆรอบตัวได้(5.1.1/3)
- สามารถสร้างแผนผังง่ายๆในแสดงตำเหน่งของสิ่งต่างๆได้(5.1.1/4)
- สามารถสังเกตุและบอกการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/5)






สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด


วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถบอกความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในอดีตกับปัจจุบัน ได้(4.1.1/3)

- สัตว์ในประเทศไทย
- การจัดกลุ่ม
- โครงสร้าง
- ปัจจัยในการดำรงชีวิต
- ประโยชน์ การดูแล
- การขยายพันธ์











มาตรฐาน ว1.1
- สามารถสังเกตอธิบายลักษณะหน้าที่ของโครงสร้างภายนอกของสัตว์ได้ (1.1 .1/ 2)
- สามารถทดลองและอธิบายน้ำ  แสงเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช(1.1 .2/1)
- สามารถอธิบายอาหาร  น้ำ  อากาศเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของสัตว์  พร้อมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
(1.1 .2/2)
- สามารถอธิบายการขยายพันธุ์สัตว์  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ (1.1 .5/4)
มาตรฐาน ว 1.2
- สามารถระบุลักษณะและสัตว์ในท้องถิ่นได้(1.2 .1/1)
- สามารถอธิบายประโยชน์ของสัตว์ได้(1.2 .2/1)
- สามารถจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะและภายนอกเป็นเกณฑ์ได้(1.2 .5/4)
มาตรฐาน ว 2.1
- สามารถสำรวจสิ่งแวดล้อมและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมได้(2.1 3/1)
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต คน พืชและสัตว์ ในรูปของโซ่อาหารได้(2.1 6/2)
มาตรฐาน ว6.1
- สามารถสืบค้น  วิเคราะห์และอธิบายผลภาวะโลกร้อนที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม(6.11/2)
มาตรฐาน ว8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาได้(8.11/1)
- สามารถวางแผน  การสังเกต  สำรวจ ตรวจสอบศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเองได้(8.11/2)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจและตรวจสอบข้อมูลได้(8.11/3)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจ  ตรวจสอบข้อมูลได้ (8.11/4)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกต  สำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพ หรือข้อความสั้นๆได้(8.11/6)
- สามารถนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.11/7)










มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลง  กติกา  กฏระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในการทำงานร่วมกับผู่อื่นได้
(2.12/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน (2.12/4)

มาตรฐาน ส 2.2
- รู้และสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.21/2)
- มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น  การตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(2.21/3)

มาตรฐาน ส3.1
- สามารถระบุสินค้าและบริการที่มาจากสัตว์ได้(3.11/1)
มาตรฐาน ส5.1
- สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีต่อกันและกันในระบบธรรมชาติได้(5.11/5)

มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือง่ายๆในการทำงานได้ (.1.11/2)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้(.1.11/2)
- สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงานได้ (.1.13/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานได้(.1.14/3)









มาตรฐาน พ1.1
- สามารถอธิบายลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายนอกของสัตว์ได้(.1.11/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตได้(.1.13/3)
มาตรฐาน พ2.1
- สามารถบอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
(2.1 1/2)










มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะและขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น (1.1 1/1  )
- บอกความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว (1.1 1/2  )
- สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่าย ๆ (1.1 1/ 4 )
- วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง (1.1 1/ 5)
มาตรฐาน ศ 3.1
- เลียนแบบการเคลื่อนไหว (3.1 1/1 )
- แสดงท่าทางง่าย ๆ เพื่อสื่อความหมาย แทนคำพูด (3.1 1/2  )
- บอกสิ่งที่ตนเองชอบ จากการดูหรือ
ร่วมการแสดง (3.1 1/3 )

มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถบอกความเปลี่ยนแปลงของสัตว์ในอดีตกับปัจจุบัน ได้(4.1.1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถแยกแยะสิ่งต่างๆรอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น (5.1 1/1)
- สามารถระบุความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/2)
- สามารถระบุที่ตั้งหรือตำเหน่งของสิ่งต่างๆรอบตัวได้(5.1.1/3)
- สามารถสร้างแผนผังง่ายๆในแสดงตำเหน่งของสิ่งต่างๆได้(5.1.1/4)
- สามารถสังเกตุและบอกการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/5)




สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์

- ความสัมพันธ์ของคน พืช สัตว์
- การพึ่งพาอาศัยของคน พืช  สัตว์
- ระบบนิเวศ




















มาตรฐาน ว1.1
- สามารถเข้าใจหน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน  พร้อมทั้งนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งแวดล้อมได้(.1.1)
มาตรฐาน ว.1.2
- สามารถอธิบายประโยชน์ของสิ่งมีชีวิต คน  พืช  และสัตว์ได้(1.22/1)
มาตรฐาน ว 2.1
- สามารถสำรวจสิ่งแวดล้อมและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมได้(2.1 3/1)
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต คน พืชและสัตว์ ในรูปของโซ่อาหารได้(2.1 6/2)
มาตรฐาน ว8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาได้(8.11/1)
- สามารถวางแผน  การสังเกต  สำรวจ ตรวจสอบศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเองได้(8.11/2)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจและตรวจสอบข้อมูลได้(8.11/3)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจ  ตรวจสอบข้อมูลได้ (8.11/4)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกต  สำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพ หรือข้อความสั้นๆได้(8.11/6)
- สามารถนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.11/7)








มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลง  กติกา  ระเบียบในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.12/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน (2.12/4)
มาตรฐาน ส 2.2
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.21/2)
- มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น  ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(2.21/3)
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีต่อกันและกันในระบบธรรมชาติได้(5.11/5)
มาตรฐาน ส 5.2
- สามารถมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนได้  (5.2 4/5)
มาตรฐาน ง .1.1
- สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือง่ายๆในการทำงานได้ (.1.11/2)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้(.1.11/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานได้(.1.14/3)














มาตรฐาน พ2.1
- สามารถบอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
(2.1 1/2)


















มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะและขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น (1.1 1/1  )
- บอกความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว (1.1 1/2  )
- สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่าย ๆ (1.1 1/ 4 )
- วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง (1.1 1/ 5)
มาตรฐาน ศ 3.1
- เลียนแบบการเคลื่อนไหว (3.1 1/1 )
- แสดงท่าทางง่าย ๆ เพื่อสื่อความหมาย แทนคำพูด (3.1
1/2  )
- บอกสิ่งที่ตนเองชอบ จากการดูหรือ
ร่วมการแสดง (3.1 1/3 )
มาตรฐาน ส 5.1
- สามารถแยกแยะสิ่งต่างๆรอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น (5.1 1/1)
- สามารถระบุความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/2)
- สามารถระบุที่ตั้งหรือตำเหน่งของสิ่งต่างๆรอบตัวได้(5.1.1/3)
- สามารถสร้างแผนผังง่ายๆในแสดงตำเหน่งของสิ่งต่างๆได้(5.1.1/4)
- สามารถสังเกตุและบอกการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/5)












สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์

คน พืช  สัตว์  ในอนาคต
- ลักษณะ
- การดำรงชีวิต


















มาตรฐาน ว1.1
- สามารถเข้าใจหน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน  พร้อมทั้งนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งแวดล้อมได้(.1.1)
มาตรฐาน ว.1.2
- สามารถอธิบายประโยชน์  โทษของสิ่งมีชีวิต คน  พืช  และสัตว์ได้ (1.22/1)
มาตรฐาน ว 2.1
- สามารถวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้(2.1 3/1)
มาตรฐาน ว8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาได้(8.11/1)
- สามารถวางแผน  การสังเกต  สำรวจ ตรวจสอบศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเองได้(8.11/2)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจและตรวจสอบข้อมูลได้(8.11/3)
- สามารถแสดงความคิดเห็นในการสำรวจ  ตรวจสอบข้อมูลได้ (8.11/4)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกต  สำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพ หรือข้อความสั้นๆได้(8.11/6)
- สามารถนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.11/7)














มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลง ระเบียบและหน้าที่ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.12/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน (2.12/4)
มาตรฐาน ส 2.2
- รู้และสามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.21/2)
- มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น  ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(2.21/3)
มาตรฐาน ส5.1
- สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีต่อกันและกันในระบบธรรมชาติได้(5.11/5)
มาตรฐาน ส5.2                          - สามารถสังเกต/เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวได้(5.21/1)
มาตรฐาน ง .1.1
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้ (.1.11/2)
- สามารถทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด  ความรอบคอบและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้   (1.1 3/3)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานได้(.1.14/3)













มาตรฐาน พ2.1
- สามารถบอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
(2.1 1/2)
มาตรฐาน พ4.1
- สามารถเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ได้(4.1 2/1)















มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะและขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น (1.1 1/1  )
- บอกความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว (1.1 1/2  )
- สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่าย ๆ (1.1 1/ 4 )
- วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง (1.1 1/ 5)
มาตรฐาน ศ 3.1
- เลียนแบบการเคลื่อนไหว (3.1 1/1 )
- แสดงท่าทางง่าย ๆ เพื่อสื่อความหมาย แทนคำพูด (3.1 1/2  )
- บอกสิ่งที่ตนเองชอบ จากการดู (3.1 1/3 )

มมาตรฐาน ส 5.1
- สามารถแยกแยะสิ่งต่างๆรอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น (5.1 1/1)
- สามารถระบุความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/2)
- สามารถระบุที่ตั้งหรือตำเหน่งของสิ่งต่างๆรอบตัวได้(5.1.1/3)
- สามารถสร้างแผนผังง่ายๆในแสดงตำเหน่งของสิ่งต่างๆได้(5.1.1/4)
- สามารถสังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆรอบตัวได้ (5.1.1/5)










สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์

การสรุปโครงงาน
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการสรุปโครงงานได้
 (8.1.1/5)

มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่มในการแสดงละครสรุปโครงงานได้(2.2.1/1)
มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถเขียนMind mappingหลังเรียนอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้(1.1.1/3)
มาตรฐาน พ3.1
- สามารถเลื่อนไหวร่างกายในการทำกิจกรรมและการแสดงละครสรุปโครงงานได้อย่างคล่องแคล่ว (3.1.1/1)
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถสรุปโครงงานผ่านการแสดงละครได้
(3.1.1/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- สามารถบอกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้มา
(4.2 1/2)